Richard and Rodger (1995)
ได้แบ่งมุมมองต่อภาษาในการจัดประสบการณ์เป็น 3 กลุ่ม
1.มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
-
นำองค์ประกอบย่อยของภาษามาใช้ในการสื่อความหมาย
- เสียง ไวยากรณ์ การประกอบคำเป็นวลี หรือประโยค
2. มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
-
เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย
-
การจัดประสบการณ์เน้นการสื่อความหมาย
-
ไม่ได้ละทิ้งแบบแผนหรือไวยากรณ์
3. มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
-
เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
-
การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
-
เด็กมีปฏิสัมพันธ์ผ่านการใช้ภาษา
การสอนแบบอ่านแจกลูก
(Phonic)
•การประสมคำ
•พยัญชนะ
สระ วรรณยุกต์ ตัวสะกด
•ไม่สอดคล้องกับธรรมชาติการใช้ภาษาของเด็ก
•ไม่สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
•สนใจ
อยากรู้อยากเห็นสิ่งรอบๆตัว
•ช่างสงสัย
ช่างซักถาม
•มีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
•ชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
•เลียนแบบคนรอบข้าง
Kenneth Goodman
•เสนอแนวทางการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
•มีความเชื่อมโยงระหว่างภาษากับความคิด
•แนวทางการสอนมีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้และธรรมชาติของเด็ก
หลักการของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
1.การคจัดสภาพแวดล้อม
2.การสื่อสารที่มีความหมาย
3.การเป็นแบบอย่าง
4.การตั้งความคาดหวัง
5.การคาดคะเน
6.การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
7.การยอมรับนับถือ
8.การสร้างความเชื่อมั่น
บทบาทครู (นิรมล ช่างวัฒนชัย, 2541)
•ครูคาดหวังเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน
•ใช้ประสบการณ์ตรงในการสนับสนุนการอ่าน การเขียน
•ครูควรยอมรับกับความไม่ถูกครบถ้วนของเด็ก
•ครูสร้างความสนใจในคำและสิ่งพิมพ์
ผู้ที่ถ่ายทอดความรู้ - ผู้อำนวยความสะดวก - ผู้ร่วมทางการเรียนรู้ ไปพร้อมๆ กับเด็ก
|
ดูวิดิโอเพลงและฝึกร้องเพลงทั้งเพลงใหม่และเพลงเก่า |
|
อาจารย์ให้นักศึกษาออกไปร้องเพลงที่หน้าชั้นเรียนคนละ 1 เพลง ดิฉันร้องเพลง "ตาดูหูฟัง"
|
ประเมินตัวเอง
การเรียนการสอนในวันนี้สนุกมาก มีการร้องเพลงและทำท่าประกอบ ทำให้ไม่ง่วงนอน และอาจารย์ยังให้นักศึกษาออกไปร้องเพลงหน้าห้องคนละ 1 เพลง จึงทำให้กิจกรรมการสอนในวันนี้ดูตื่นเต้น
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆให้ความร่วมมือกับการเรียนในวันนี้เป็นอย่างดี
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
วันนี้อาจารย์สอนสนุก ไม่น่าเบื่อ มีกิจกรรมที่หลากหลายในการสอน